รายงานการประเมินตนเอง(SAR 2557) บทที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา(1)



บทที่  
ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา

@ สภาพทั่วไปของสถานศึกษา
ชื่อสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางสะพาน
ที่อยู่ :   หมู่ ๑  ตำบลพงศ์ประศาสน์    อำเภอ/เขต : บางสะพาน
จังหวัด : ประจวบคีรีขันธ์
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๓๒-๖๙๑๖๗๑   เบอร์โทรสาร : ๐๓๒-๖๙๑๖๗๑
E-mail ติดต่อ : bangsaphannfe.gmail.com
สังกัด : สำนักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  สำนักงาน กศน.

@ ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา
ประวัติสถานศึกษา :
          ประกาศกระทรวงศึกษาธิการให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ  มีสถานภาพเป็นสถานศึกษา  ในสมัย  ท่าน  ดร. รุ่ง  แก้วแดง  เป็นอธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรียน
          ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางสะพาน  ได้จัดตั้งตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ  เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๗  เป็นสถานศึกษาในราชการบริหารส่วนกลาง  สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์  โดยสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอบาสะพาน  อนุเคราะห์ให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางสะพาน  โดยใช้อาคารเก่าของ  สปอ.บางสะพาน  ที่ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกับสำนักงานพื้นที่การศึกษา  เขต ๑  หมู่ที่ ๑ บ้านฝ่ายท่า  ตำบลพงศ์ประศาสน์  อำเภอบางสะพาน  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  ตั้งแต่    พฤศจิกายน  ๒๕๕๑  จนถึงปัจจุบัน

อาณาเขตที่ตั้งสถานศึกษา :
ทิศเหนือ              ติดต่อกับตำบลอ่างทอง  อำเภอทับสะแก
ทิศใต้                 ติดต่อกับตำบลบางสะพานน้อย  และตำบลช้างแรก
                       อำเภอบางสะพานน้อย
ทิศตะวันออก         ติดอ่าวไทย
                   ทิศตะวันตก          จดเทือกเขาตะนาวศรี  และตำบลลังเคี่ย  จังหวัดมะริด  
                                                         ประเทศสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์
สภาพของชุมชน:
               ๑) สภาพทั่วไป
อำเภอบางสะพานเป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่มีที่ตั้งตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ อยู่ในเขตภาคตะวันตก แต่ลักษณะทางภูมิศาสตร์ค่อนลงมาทางตอนใต้ จากแผนที่อำเภอบางสะพาน เป็นเสมือนประตูเปิดสู่ภาคใต้ เมืองนี้มีชื่อเสียงมาตั้งแต่สมัยโบราณโดยสมัยก่อนนี้มีชื่อเสียงในด้านการค้นพบทองคำ และทองคำที่พบมีคุณสมบัติดีมากหรือที่เราเรียกว่า ทองนพคุณ นั่นเอง ดังนั้น เมืองแห่งนี้จึงได้ชื่อ “เมืองกำเนิดนพคุณ”
) ขนาดและที่ตั้ง
ที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอบางสะพาน ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ตามเส้นทางของถนนสายเพชรเกษม ก.ม.ที่ ๔๐๑  ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑ ตำบลกำเนิดนพคุณ มีทางหลวงแผ่นดินออกสายเพชรเกษม-ชายทะเล ระยะทาง ๙  กิโลเมตร  และทางรถไฟสายใต้ผ่าน ระยะทางรถไฟจากกรุงเทพมหานคร-บางสะพานใหญ่ ระยะทาง ๓๗๖ กิโลเมตร  ระยะทางจากประจวบคีรีขันธ์ถึงอำเภอบางสะพาน ตามเส้นทางถนนเพชรเกษมระยะทาง ๘๖ กิโลเมตร ระยะทางรถไฟประมาณ ๗๖ กิโลเมตร เป็นพื้นที่รวมทั้งสิ้น ๘๗๖ ตารางกิโลเมตร
               ) สภาพเศรษฐกิจของอำเภอบางสะพาน
               ทรัพยากรธรรมชาติ
               แหล่งน้ำ  แหล่งน้ำตามธรรมชาติที่สำคัญ  มี    สาย  คือ
               .  คลองบางสะพาน  หรือคลองใหญ่  เป็นแม่น้ำสายสำคัญของบางสะพาน  ยาวประมาณ   ๔๐  กิโลเมตร  ต้นน้ำเกิดจากทิวเขาตะนาวศรีไหลผ่านตำบลร่อนทอง  ตำบลพงศ์ประศาสน์  ตำบลกำเนิดนพคุณ  และตำบลแม่รำพึง  ไหลลงสู่อ่าวไทยบริเวณปากคลองบางสะพาน  หมู่ที่    ตำบลแม่รำพึง
.  คลองกรูด  ยาวประมาณ  ๒๕  กิโลเมตร  ต้นน้ำเกิดจากเทือกเขาตะนาวศรี  ไหลผ่านตำบลชัยเกษม  และตำบลธงชัย  ไหลลงสู่อ่าวไทยที่บ้านปากคลองกรูด  หมู่ที่    ตำบลธงชัย  แหล่งน้ำแหล่งนี้  อยู่ในสภาพตื้นเขินในฤดูแล้ง  แต่ในเขตลุ่มน้ำบางแห่งก็มีน้ำขังอยู่มาก  ใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร
ð  ดิน  ลักษณะดินส่วนใหญ่จะเป็นดินร่วนปนทราย  ดินลูกรัง  เหมาะแก่การปลูกพืชไร่  ประเภทที่ต้องการน้ำน้อย  เช่น  มะพร้าว  สับปะรด  แต่พื้นที่บางแห่งก็มีความสมบูรณ์  เพราะอยู่ใกล้แหล่งน้ำ  พื้นที่เหล่านี้ก็จะปลูกพืชสวน  เช่น  ทุเรียน  เงาะ  มังคุด
                   ð ป่าไม้  มีพื้นที่ป่าไม้  จำนวน ๓๖๗,๐๔๙  ไร่  มีมากตามเชิงเขาตะนาวศรี  ด้านทิศตะวันตก  ตั้งแต่ตำบลชัยเกษม  ตำบลร่อนทอง  ตำบลทองมงคล  ตลอดแนวเขตอำเภอบางสะพานเป็นไม้ยาง  ไม้แดง  ไม้มะค่าและไม้ตะแบก  พื้นที่ป่าไม้ยังคงสภาพสมบูรณ์  ส่วนใหญ่จะเป็นเขตป่าสงวน  ได้แก่  วนอุทยานป่ากลางอ่าว  มีพื้นที่  ,๒๐๐  ไร่  ในเขตตำบลแม่รำพึง  และสวนป่าที่ได้รับการอนุรักษ์ ส่วนต้นไม้ที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติ  และเป็นต้นไม้ประจำจังหวัด  คือ ต้นเกด  พบขึ้นทั่วไปตามป่า  ที่มีดินเป็นดินทรายและดินปนหิน  ในสภาพป่าที่ค่อนข้างแห้งแล้งในท้องที่บางสะพานก็หาพบได้  เพราะแต่เดิมเป็นไม้ที่ชาวประมงนำมาใช้เป็นสลักแทนตะปู  สำหรับติดกระดานกับโครงของเรือ  เพราะตะปูเป็นสนิมง่ายไม่ทนทาน
                   ð แร่ธาตุ  มีแร่ที่สำคัญ  คือ  แร่ดีบุก มีมากที่ตำบลชัยเกษม  หมู่    และ    ตำบลร่อนทองจะมีมากที่หมู่    และหมู่ที่ 
               ๔)  อาชีพของประชาชนในท้องถิ่นบางสะพาน
ð เกษตรกรรม  การเพาะปลูกในเขตอำเภอบางสะพาน  มีการปลูกมะพร้าว เป็นพืชเศรษฐกิจที่ทำรายได้ให้จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  ทุกส่วนของมะพร้าวสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร  เริ่มต้นจากผลมะพร้าว  เนื้อมะพร้าว กะลา  เปลือกมะพร้าว  ลำต้น  และปัจจุบันมีการปลูกมะพร้าว  เพื่อนำยอดมะพร้าวอ่อนไปทำอาหาร ซึ่งมีราคาแพงและได้รับความนิยมอย่างมาก  ปาล์มน้ำมัน  ยางพารา กาแฟ  โกโก้ ก็เป็นพืชที่สามารถปลูกได้ผลดี  เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเอื้ออำนวย  นอกจากนี้แล้วก็มีพืชไร่  ได้แก่  พริก  ขิง  ข้าวโพด  สับปะรด  และยังมีพืชสวนที่เป็นพืชเศรษฐกิจของเมืองนี้  คือ  เงาะ  ลองกอง  มังคุด  และทุเรียน   
                    อาชีพการเกษตรนับว่าเป็นอาชีพหลักของชาวบางสะพาน ปัจจุบันเป็นรูปแบบเกษตรกรรมพัฒนา  คือ  มีการใช้เทคโนโลยีพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้ได้คุณภาพและเพิ่มผลผลิตให้ได้มากยิ่งขึ้น  ประชาชน  มีการทำสวน  และปลูกพืชไร่ บางท้องที่ก็มีการเลี้ยงสัตว์ ทำการประมงทั้งนี้สรุปได้ว่า  การประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่นจะแตกต่างกันไปตามสภาพของพื้นที่และสิ่งแวดล้อม
ð การเลี้ยงสัตว์ แต่เดิมจะเลี้ยงสัตว์เพื่อรองรับความจำเป็นในครัวเรือน  เช่น  เลี้ยงเป็ด  ไก่  ไว้เป็นอาหาร  เลี้ยงโค  กระบือ ไว้ใช้งาน  แต่ปัจจุบันความคิดและวิธีการเลี้ยงสัตว์ได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นการเลี้ยงเพื่อการค้า  เป็นอาชีพ  บางสะพานปัจจุบันมีการทำฟาร์มไก่  ฟาร์มสุกร  ฟาร์มโคเนื้อ  ฟาร์มโคนม   และฟาร์มหมูป่า
                   ð การประมงน้ำจืด  และการประมงน้ำเค็ม การประมงน้ำจืดทำกันตามแหล่งน้ำธรรมชาติ  และที่มีการขุดบ่อเลี้ยง  ส่วนการประมงน้ำเค็มทำกันในเขตชายฝั่งทะเลและในเขตป่าชายเลน  มีการเลี้ยงกุ้ง  หอยแมลงภู่  และเลี้ยงปลาทำให้ประชากรของบางสะพานมีอาหารทะเลบริโภคอย่างอุดมสมบรูณ์ตลอดปี
ð อุตสาหกรรม การอุตสาหกรรมมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก  โรงงานอุตสาหกรรมที่สำคัญ  คือ
                         ๑. โรงงานอุตสาหกรรมที่ต่อเนื่องจากการเกษตร  ได้แก่  โรงงานอุตสาหกรรม
สับปะรดกวน  กล้วยกวน  โรงงานเส้นใยมะพร้าว
                         . โรงงานอุตสาหกรรมที่ต่อเนื่องจากการประมง  ได้แก่  โรงงานอุตสาหกรรม
ห้องเย็น  อุตสาหกรรมทำปลาป่น
                         . โรงงานอุตสาหกรรมผลิตวัสดุและการก่อสร้าง  ได้แก่  อุตสาหกรรมผลิตคอนกรีต  คอนกรีตผสมเสร็จ  อุตสาหกรรมดูดทราย  อุตสาหกรรมแปรรูปไม้และประดิษฐ์กรรมจากไม้
                         . อุตสาหกรรมเหล็ก  อำเภอบางสะพานมีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่  ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลทิศตะวันออก  ได้แก่                     
                            .  อุตสาหกรรมเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน  ในนามบริษัทสหวิริยาสตีลอินดัสตรี  จำกัด  (มหาชน)  จำนวน   โรงงาน  กำลังผลิต  .  ล้านตัน/ปี เงินลงทุน ๑๒,๘๑๑  ล้านบาท  คนงาน  ๓๐๙  คน  ใช้วัตถุดิบเหล็กแท่งชนิดสแลบ  นำเข้าจากประเทศรัสเซีย  อิหร่าน  ออสเตรเลีย  แอฟริกาใต้  และบราซิล
.  อุสาหกรรมเหล็กแผ่นรีดเย็นชนิดม้วน  ในนาม  บริษัท  เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย  จำกัด  (มหาชน)  จำนวน    โรงงาน  กำลังผลิต  . ล้านตัน/ปี  เงินลงทุน  ๑๒,๕๘๖.๙๗๙  ล้านบาท  คนงาน     ๓๘๗  คน  
                             .  อุตสาหกรรมผลิตเหล็กเคลือบสังกะสีด้วยกรรมวิธีทางไฟฟ้า  ในนามบริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย  จำกัด  จำนวน    โรงงาน  กำลังผลิต  ได้เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี ๑๓๕,๐๐๐  ตัน/ปี  เงินลงทุน  ,๒๒๒  ล้านบาท  คนงาน  ๑๐๖  คน  เป็นบริษัทที่ร่วมลงทุนกับชาวญี่ปุ่น
                             .  อุตสาหกรรมเหล็กเส้นเสริมคอนกรีตชนิดเหล็กเส้นกลม  ในนาม  บริษัทบางสะพานบาร์มิล  จำกัด  จำนวน    โรงงาน  กำลังผลิตเหล็กเส้น  เส้นกลมข้ออ้อย  ๗๒๐,๐๐๐  ปีเงินลงทุน  ,๐๐๐  ล้านบาท  คนงาน  ๒๒๔  คน
               ๕)  การพาณิชย์   
               อำเภอบางสะพาน มีธนาคารเปิดดำเนินการอยู่  จำนวน    แห่ง  คือ
๑. ธนาคารออมสิน                                                                                            ๒. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร                                                  ๓. ธนาคารกรุงไทย                                                                                    ๔. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา                                                                             ๕. ธนาคารไทยพาณิชย์                                                                              ๖. ธนาคารกรุงเทพฯ  จำกัด                                                                         ๗. ธนาคารกสิกรไทย
               ๖)  สภาพสังคมของอำเภอบางสะพาน
                  ðประชากร                                                                                  อำเภอบางสะพานมีกลุ่มชนอาศัยอยู่ร่วมกันหลายกลุ่ม  มีวัฒนธรรมแตกต่างกันไปตามลัทธิทางศาสนา  แต่ก็ไม่เป็นปัญหาในการอยู่ร่วมสังคมเดียวกัน  บางสะพานเป็นพื้นที่ที่มีอาณาเขตชายแดนติดต่อกับสหภาพเมียนม่าร์   มีการติดต่อระหว่างประชาชนแถบชายแดน  ซึ่งบางครั้งจะมีชนต่างเชื้อชาติ เช่น มอญ พม่า หลบหนีเข้าเมือง  ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสังคม  แต่ก็ไม่มากนัก
               ยังมีกลุ่มคนไทยกลุ่มหนึ่งที่ถูกเรียกว่า  คนไทยพลัดถิ่น  เป็นกลุ่มชนสัญชาติพม่า  เชื้อสายไทย      ที่เคยมีชุมชนอยู่ในแผ่นดินไทย  (เดิม)  แถบจังหวัดมะริด  ตะนาวศรี  ทวาย  ก่อนที่พม่าจะตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ  ต่อมาในสมัยรัชการที่    ไทยเสียดินแดนแถบนี้ให้กับพม่าที่ถูกอังกฤษยึดครอง  คนไทยกลุ่มนี้ ก็อยู่ในการปกครองของพม่า จนเข้าสู่ยุคเผด็จการทหารพม่า  กลุ่มคนไทยกลุ่มนี้ก็อพยพมาฝั่งไทยและกลายเป็นชนกลุ่มน้อยทันที ไม่มีโอกาสได้รับการปฏิบัติการรัฐตามสิทธิของพลเมืองไทย  เช่น  ไม่มีใบสูติบัตร  ไม่ได้รับการจดทะเบียน  กลุ่มชนเหล่านี้จะรวมกลุ่มกันอยู่ตามชายแดนทางทิศตะวันตกที่มีเขตติดต่อกับเมียนม่าร์  เช่น กลุ่มชนบ้านในล็อค  ทุ่งเชือกเป็นต้น

@ ทำเนียบผู้บริหาร
ลำดับที่
ชื่อ-สกุล
ตำแหน่ง
ระยะเวลา
ที่ดำรงตำแหน่ง
  ๑.
นายทวีศักดิ์ แย้มพราย
ผอ.กศน.อำเภอบางสะพาน
๒๕๔๗-๒๕๕๑
  ๒.
สิบเอกอวยพร  ศิริวรรณ
ผอ.กศน.อำเภอบางสะพาน
๒๕๕๑-๒๕๕๕
.
น.ส.ณัฐภัสสร แดงมณี
ครูผู้ช่วย รักษาการฯ
๑ ต.ค.๒๕๕๕ – ๑๔ ส.ค.๒๕๕๖
๔.
นายอนุรักษ์  แหวนเงิน
ผอ.กศน.อำเภอบางสะพาน
๑๕ ส.ค.๒๕๕๖ – ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
๕.
นางศรีสง่า  โภคสมบัติ
ผอ.กศน.อำเภอบางสะพาน
๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ – ปัจจุบัน
@ งบประมาณ
Ø เงินงบประมาณ            จำนวน๒,๖๒๒,๐๐๖บาท
Ø เงินนอกงบประมาณ       จำนวน๑๑๗,๘๐๐.๓๖..บาท


@ จำนวนผู้เรียน ผู้รับบริการ และจำนวนผู้สอน (ปีปัจจุบัน)
หลักสูตร/ประเภท
จำนวนผู้เรียน
รวม
จำนวนผู้สอน
ชาย
หญิง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
- ระดับประถมศึกษา
๑๐
๑๓
- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
๘๙
๑๐๓
๑๙๒
- ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
๑๕๘
๒๐๑
๓๕๙
รวมจำนวน
๓๒๓
๔๑๓
๕๖๔
๑๑
การศึกษาต่อเนื่อง
โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ตำบล)
๑๐๐
๓๗๐
๔๗๐
๑๖
โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (อำเภอ)
๒๖
๖๔
๙๐
โครงการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ (อาชีพตามความต้องการของพื้นที่)
๙๕
๔๐๑
๔๙๖
๑๓
โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
๑๖๐
๒๖๑
๔๒๑
๑๔
โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
๑๐๗
๒๐๓
๓๑๐
๑๐
โครงการจัดกระบวนการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๙๔
๑๒๗
๒๐๖
๑๐
รวมจำนวน
๕๘๒
๑,๔๒๖
๑,๙๙๓
๖๖
การศึกษาตามอัธยาศัย
โครงการบ้านหนังสืออัจฉริยะ
๕,๙๘๐
๑๑,๖๖๒
๑๗,๖๔๒
โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้
๕,๗๐๘
๙,๐๓๐
๑๔,๗๓๘
โครงการวันเด็กแห่งการเรียนรู้
๑๐๘
๒๑๒
๓๒๐
รวมจำนวน
๑๑,๗๙๖
๑๗,๙๐๔
๓๒,๗๐๐







@จำนวนบุคลากร(ปีปัจจุบัน)
ประเภท/ตำแหน่ง
จำนวน
ต่ำกว่า ป.ตรี
ป.ตรี
ป.โท
ป.เอก
รวมจำนวน
ข้าราชการครู


บุคลากรทางการศึกษา
-
-
-
-
-
ลูกจ้างประจำ



พนักงานราชการ



ครูศูนย์การเรียนชุมชน



อัตราจ้าง


รวมจำนวน
๑๑

๑๕
@ แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย
ชื่อ กศน.ตำบล
ที่ตั้ง
ผู้รับผิดชอบ
กศน.ตำบลกำเนิดนพคุณ
ม.๓  บ้านปอแดง  ต.กำเนิดนพคุณ อ.บางสะพาน  จ.ประจวบฯ  ๗๗๑๔๐
นายกำจัฐ  กว้างขวาง
กศน.ตำบลชัยเกษม
ม.๑ บ้านหนองหญ้าปล้อง        
ต.ชัยเกษม  อ.บางสะพาน       
จ.ประจวบฯ  ๗๗๑๙๐
ว่าที่ร้อยตรีหญิงเครือวัลย์  มากเต
กศน.ตำบลทองมงคล
ม.๓  บ้านราษฎร์ประสงค์   ต.ทองมงคล  อ.บางสะพาน  จ.ประจวบฯ   ๗๗๒๓๐
นางสาวสุปรวีณ์  ศรีเลี่ยน
   กศน.เทศบาลตำบลกำเนิดนพคุณ
วัดห้วยทรายขาว อ.บางสะพาน
จ.ประจวบฯ ๗๗๑๔๐
นางสาวมุทิตา นันทจินดา
กศน.ตำบลธงชัย
ม.๒ บ้านปากคลอง ต.ธงชัย 
อ.บางสะพาน  จ.ประจวบฯ  ๗๗๑๙๐
นางสาวงามเพ็ญ  เจริญชีพ
กศน.ตำบลพงศ์ประศาสน์
ม.๑  บ้านฝ่ายท่า  
ต.พงศ์ประศาสน์  อ.บางสะพาน 
จ.ประจวบฯ  ๗๗๑๔๐
นางสุชาวดี ใบภูทอง
กศน.ตำบลแม่รำพึง
ม.๕ บ้านปากคลอง ต.แม่รำพึง 
อ.บางสะพาน  จ.ประจวบฯ  ๗๗๑๔๐
นางภารณี  ก้านเหลือง
กศน.ตำบลร่อนทอง
ม.๕ บ้านเกาะยายฉิม  ต.ร่อนทอง 
อ.บางสะพาน  จ.ประจวบฯ  ๗๗๒๓๐
นางสาวปาฤษา อัตถาวะระ
รวมจำนวน
  แห่ง
  คน
ชื่อแหล่งเรียนรู้
ประเภทแหล่งเรียนรู้
ที่ตั้ง
. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
กระบวนการให้ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง
ม.๘ บ้านดอนสง่า/กศน.อำเภอบางสะพาน
. แหล่งหัตถกรรมจักสานหวาย
หัตถกรรมหวาย
หมู่ ๔ บ้านห้วยเกรียบ      ต.ทองมงคล
. วนอุทยานป่ากลางอ่าว
การเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์ป่าและพันธ์พืช/การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช
๔. อุทยานแม่รำพึง
การเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์ป่าและพันธ์พืช/การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช
๕. แหล่งร่อนทองบางสะพาน
วัฒนธรรมพื้นบ้าน
ม.๖  บ้านป่าร่อน
๖.พระมหาธาตุเจดีย์ภักดีประกาศ
ศิลปวัฒนธรรม
ม.๙ บ้านทางสายต.ธงชัย
๗. สวนเกษตรผสมผสาน
กระบวนการให้ความรู้การทำสวนเกษตรผสมผสาน
ม.๖  บ้านหนองตาเมือง ต.ธงชัย
ชื่อแหล่งเรียนรู้
ประเภทแหล่งเรียนรู้
ที่ตั้ง
๘. การทำปุ๋ยชีวภาพ
ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยชีวภาพ
ม.๖  บ้านหนองตาเมือง ต.ธงชัย
๙. ฟาร์มเพาะเห็ด 
ขั้นตอนการเพาะเห็ด
ม.๔  บ้านทุ่งเรือยาว 
ต.ธงชัย
๑๐. แปลงผักปลอดสารพิษ
กระบวนการปลูกผักปลอดสารพิษ
ม.๒  บ้านนาผักขวง
๑๑. ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและสถาบันการเงินชุมชน
การบริหารจัดการโดยuคณะกรรมการของชุมชน
ม.๘  บ้านดอนสง่า
๑๒. บ้านสายเพชร
เศรษฐกิจพอเพียง
ต.ทองมงคล
รวมจำนวน
๑๒ แห่ง

ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความรู้ความสามารถ
ที่อยู่
 ๑. นางยุพา  เหมือนแท้
นวดแผนโบราณ
๑๐๕ ม.๑ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๒. นางปราณี  พูลประเสริฐ
กลองยาว
๑๑๘  ม.๑ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๓. นางทิพาภรณ์ เฟื่องประดิษฐ์กุล
จัดขันหมากแต่งงาน
๓๐  ม.๑ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๔. นายสมบูรณ์  เขียนวาด
ช่างไม้
๓๔/๒  ม.๑ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๕. นายสุพจน์  จันทร
ช่างปั้น
๕๘/๓  ม.๑ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๖. นายศิริ  ประชุมฤกษ์
ช่างไม้/ช่างเกาะสลัก
๘๐  ม.๑ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๗. นายพอใจ  ประกอบปราณ
เกษตรผสมผสาน/ปุ๋ยชีวภาพ
๔๘  ม.๑ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๘. นางบุญชวน  มุกดา
ทำกะปิ
ม.๑ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๙. นายสมปอง  อยู่ร่ม
ยาสมุนไพร
ม.๒  ต.พงศ์ประศาสน์
 ๑๐. นางจิน  สืบสาน
จักสาน
ม.๒  ต.พงศ์ประศาสน์
 ๑๑. นายอเนก  ตมสอน
ช่างเหล็ก
ม.๒  ต.พงศ์ประศาสน์
 ๑๒. นางศิริลักษณ์  ห้อมล้อม
เย็บปักถักร้อย
ม.๒  ต.พงศ์ประศาสน์
 ๑๓. นายสมยศ  พลามินทร์
ปลูกผักปลอดสารพิษ
ม.๕  ต.พงศ์ประศาสน์
 ๑๔. นายบุญช่วย  เต็มพร้อม
การถนอมอาหาร
ม.๕  ต.พงศ์ประศาสน์
 ๑๕. นายประนอม  กลมเลื่อม
ช่างไฟฟ้า
๗๐  ม.๗ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๑๖. นายเสนอ  ปลอดโปร่ง
ช่างยนต์
๔๑/๓ ม.๗ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๑๗. นายจเร  ขาวสง่า
ช่างปูกระเบื้อง
๗๒  ม.๗ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๑๘. นายณรง  ขาวสง่า
การเลื้ยงไก่พื้นเมือง
๑๘  ม.๗ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๑๙. นายชม  เชื้อพราน
ฝึกลิงขึ้นมะพร้าว
๔๑/๑ ม.๗ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๒๐. นางบุญเยี่ยม  ไชยเดช
รำมโนราห์พื้นบ้าน
๔๑  ม.๗ ต.พงศ์ประศาสน์
 ๒๑. นายผ่อน  ชูจิตร์
ช่างตีเหล็ก
๔๘/๑ ม.๘ ต.พงศ์ประศาสน์ 
 ๒๒. นายจำเริญ  ทองสร้อย
ช่างทำเก้าอี้ไม้
๔๒/๑ ม.๘ ต.พงศ์ประศาสน์ 
 ๒๓. นายจอง  ศรีเพียงจันทร์
ดนตรีไทย(สีซอด้วง)
ม.๑๐  ต.พงศ์ประศาสน์ 

ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความรู้ความสามารถ
ที่อยู่
 ๒๔. นายล้วน  ศรีเพียงจันทร์
ดนตรีไทย(สีซออู้)
ม.๑๐  ต.พงศ์ประศาสน์ 
 ๒๕. นายสมาน  ศรีเพียงจันทร์
ดนตรีไทย(ตีระนาด)
ม.๑๐  ต.พงศ์ประศาสน์ 
 ๒๖. นายซ้อน  พันธ์สุข
ดนตรีไทย(เป่าขลุ่ย,เป่าปี่)
ต.ทองมงคล
 ๒๗. นายเจียม  สดีเดช
ทำวงกบประตู/หน้าต่าง
ต.ทองมงคล
 ๒๘. นายประจบ   พันธ์สุข
ช่างตีเหล็ก
ต.ทองมงคล
 ๒๙. นางสายพิน   ถนอมนุช
ทำปลาร้า,ปลาส้ม
ต.ทองมงคล
 ๓๐. นายบุญธรรม   รอดเลน
ยกศาลพระภูมิ
ต.ทองมงคล
 ๓๑. นายนิคม    พูลภีร์
การบริหารจัดการชุมชน
ต.ทองมงคล
 ๓๒. นางปวีณา    ชุ่มเต็ม
การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
ต.ทองมงคล
 ๓๓. นายเทียนไล้    ชุ่มเต็ม
ปราชญ์ชาวบ้าน/การจัดการกองทุน
ต.ทองมงคล
 ๓๔. นายยุ้ย    ดวงจันทร์
หมอรักษาพิษงู
ต.ทองมงคล
 ๓๕. นายทนงค์    พุ่มสวัสดิ์
การบริหารจัดการชุมชน/ซ่อมเครื่องยนต์
ต.ทองมงคล
 ๓๖. นายทองสืบ วงค์ประสาทเพชร
การบริหารจัดการกองทุนชุมชน
ต.ทองมงคล
 ๓๗. นายสุรพงษ์   ชุมกลิ่น
การจัดการดิน / การเกษตร
ต.ทองมงคล
 ๓๘.  นายขำ    ชำนาญพัก
ด้านสมุนไพรไทย
ต.ทองมงคล
 ๓๙. นายประดิษฐ์   พิมพา
หมอต่อกระดูก
ต.ทองมงคล
 ๔๐. นางเนื่อง     กัณฑ์เกตุ
ทำขนมไทย
ต.ทองมงคล
 ๔๑. นางบุญยืน    กันเกตุ
การทำอาหารไทย
ต.ทองมงคล
 ๔๒. นางนฤมล    เต็มองค์หล้า
คลังสมองบ้านสายเพชร
ต.ทองมงคล
 ๔๓. นางอุไร   สาลี
ทำน้ำยาล้างจาน
ต.ทองมงคล
 ๔๔. นางกรกฤต   แผนสง่า
ดอกไม้ประดิษฐ์
ต.แม่รำพึง
 ๔๕. นายโสธร   กล้าหาญ
การต่อเรือ
ต.แม่รำพึง
 ๔๖. นายสุพิศ    เรือนจันทร์
การเล่นหนังตะลุง
ต.แม่รำพึง
 ๔๗. นางเพียงใจ   กล้าหาญ
น้ำพริกปลาสายไหม
ต.แม่รำพึง
 ๔๘. นางขวัญเรือน    สิบธง
ยาแผนโบราณ (ยาบำรุงเลือด)
ต.แม่รำพึง
 ๔๙. นางจันทร์   วงษาราม
ปลาหมึกแห้ง
ต.แม่รำพึง
 ๕๐. นายวิรัตน์    ร่วมดี
หมอกระดูก
ต.แม่รำพึง
 ๕๑. นางสาวขวัญดาว   ทะถา
การนวดแผนไทย
ต.แม่รำพึง
 ๕๒. นางจรน    ทนทาน
ยากระพั้นเด็ก
ต.แม่รำพึง
 ๕๓. นายจอม  เรือนจันทร์
การทำอวน
ต.แม่รำพึง
 ๕๔. นายธนูศักดิ์   กลัดนาค
การผสมเทียม
ต.แม่รำพึง
 ๕๕. นางอภิญญา   ชมภูพันธ์
การตัดเย็บเสื้อผ้า
ต.แม่รำพึง
 ๕๖. นางมณี    พิมพ์ทอง
การทำดอกไม้ประดิษฐ์
ต.แม่รำพึง
 ๕๗. นางเพ็ญษร  แย้มพราย
การทำขนมอบ
ต.แม่รำพึง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความรู้ความสามารถ
ที่อยู่
 ๕๘. นายประชา   โว้ดทวี
การทำศาลพระภูมิ
ต.แม่รำพึง
 ๕๙. นายสมใจ  ออดรบ
ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว
ต.ธงชัย
 ๖๐. นางชุบ   วัดล้อม
ผลิตภัณฑ์ไม้กวาดก้านมะพร้าว
ต.ธงชัย
 ๖๑. นายชิ้น   คงศิริ
ผลิตภัณฑ์สุ่มไก่
ต.ธงชัย
 ๖๒. นายประสาร วัฒนทรัพย์
ผลิตภัณฑ์กรงนกหัวจุก
ต.ธงชัย
 ๖๓. นายนุการ   กันธรรมมา
ผลิตภัณฑ์สุรากลั่นชุมชน
ต.ธงชัย
 ๖๔. นางสาวเกษรินทร์   เกตุราม
ผลิตภัณฑ์ปลาเค็มและกะปิ
ต.ธงชัย
 ๖๕. นายสุทธิ์ชัย อุปชัย
ผลิตภัณฑ์ไส้กรอกสูตรเวียดนาม
ต.ธงชัย
 ๖๖. นายวิศรุต   พูลสวัสดิ์
ต่อเรือไม้และเรือไฟเบอร์กลาส
ต.ธงชัย
 ๖๗. นายพุฒ   ภู่ใหญ่
การทำเครื่องใช้จากไม้ทุกชนิด
ต.ธงชัย
 ๖๘. นายสมนึก    นาคเกษม
แพทย์แผนไทย
ต.กำเนิดนพคุณ
 ๖๙. นายขิน   กำบัง
การบริหารจัดการกองทุนชุมชน
ต.กำเนิดนพคุณ
 ๗๐. นายทิพย์    จันทร์หอม
ดนตรีไทย
ต.กำเนิดนพคุณ
 ๗๑. นายจิตร   ทองแดง
การทำไม้กวาดก้านมะพร้าว
ต.กำเนิดนพคุณ
 ๗๒. นายธวัช   พิมสอ
หมอดิน
ต.กำเนิดนพคุณ
 ๗๓. นายพวง   เชื้อชาย
ช่างตีเหล็ก
ต.กำเนิดนพคุณ
 ๗๔. นางสำราญ   ทั่งใหญ่
ขนมไทย
ต.กำเนิดนพคุณ
 ๗๕. นายไพศาล   แก้วเนตร
ผลิตซออู้/ซอด้วง
ต.กำเนิดนพคุณ
 ๗๖. นางสุชิน   กลิ่นหอม
ผ้าบาติก
ต.กำเนิดนพคุณ
ภาคีเครือข่าย
ที่อยู่/ที่ตั้ง
๑. เกษตรอำเภอบางสะพาน
หมู่ ๑  ตำบลกำเนิดนพคุณ
๒. กองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่  ๑๔๗
หมู่ ๕  ตำบลร่อนทอง
๓. สาธารณสุขอำเภอบางสะพาน
หมู่ ๑  ตำบลกำเนิดนพคุณ
๔. ประมงอำเภอบางสะพาน
หมู่ ๑  ตำบลกำเนิดนพคุณ
๕. พัฒนาชุมชน
หมู่ ๑  ตำบลกำเนิดนพคุณ
๖. พัฒนาที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
พัฒนาที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๗. องค์การบริหารส่วนตำบลกำเนิดนพคุณ
หมู่ ๓  ตำบลกำเนิดนพคุณ
๘. องค์การบริหารส่วนตำบลพงศ์ประศาสน์
หมู่ ๑  ตำบลพงศ์ประศาสน์
๙. องค์การบริหารส่วนตำบลธงชัย
หมู่ ๕  ตำบลธงชัย

ภาคีเครือข่าย
ที่อยู่/ที่ตั้ง
๑๐. องค์การบริหารส่วนตำบลแม่รำพึง
หมู่ ๕  ตำบลแม่รำพึง
๑๑. องค์การบริหารส่วนตำบลร่อนทอง
หมู่ ๕  ตำบลร่อนทอง
๑๒. องค์การบริหารส่วนตำบลทองมงคล
หมู่ ๔  ตำบลทองมงคล
๑๓. องค์การบริหารส่วนตำบลชัยเกษม
หมู่ ๑ ตำบลชัยเกษม
๑๔. วัดถ้ำม้าร้อง
หมู่ ๑  ตำบลพงศ์ประศาสน์
๑๕. วัดทางสาย
ตำบลธงชัย


@ เกียรติยศ ชื่อเสียง ผลงาน/และโครงการ/กิจกรรม ดีเด่นของสถานศึกษา
๑)  สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางสะพาน  ได้เป็นคณะกรรมการดำเนินการจัดทำ สรุป โครงการ กศน.สัญจร ๒๕๕๗  มหกรรมวิทยาศาสตร์และอาชีพสู่อาเซียน ภาคกลาง เพื่อเดินหน้าประเทศไทย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งถือว่าเป็นโครงการระดับประเทศ  โดยโครงการนี้จัดขึ้นตามนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗  โดยสอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางสะพาน 
๒) รางวัลชนะเลิศประเภทข้าราชการครู ประเภทจัดกิจกรรมด้านการศึกษาตามอัธยาศัยดีเด่น ระดับกลุ่มศูนย์ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕
๓) รางวัลชนะเลิศประเภทลูกจ้างประจำ ระดับกลุ่มศูนย์ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕
๔) รางวัลที่ ๑ บุคคล/หนวยงาน/สถานศึกษาที่ไดรับการประเมินคัดเลือกในระดับประเทศที่จัดและหรือสนับสนุนกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําป ๒๕๕๕ ดานการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน ดีเดน สถานศึกษาขนาดใหญ่
๕) รางวัลชนะเลิศและรางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง การแข่งขัน Robot Challen กศน.ระดับมัธยมศึกษา ณ อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์








ผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกที่ผ่านมา
๑.ผลการประเมินคุณภาพภายใน
             ๑) ผลการประเมินคุณภาพภายใน โดยภาพรวมของสถานศึกษา

() ผลการประเมินตนเอง
มาตรฐาน
ค่าน้ำหนัก
ผลการประเมินตนเอง
คะแนนที่ได้
ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ
๓๕
...........
ดี
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ
๒๕
๒๔.๒๐
ดี
มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา
๑๐
๑๐.๐๐
ดี
มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา
๑๐
๙.๑๗
ดี
มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
๑๐
๙.๐๐
ดี
มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม
๑๐
๑๐.๐๐
ดี
รวมคะแนนโดยภาพรวมของสถานศึกษา
๑๐๐
.............
ดี


() การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
มาตรฐาน
ค่าน้ำหนัก
ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
คะแนนที่ได้
ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ
๓๕
๓๐.๙๐
ดี
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ
๒๕
๒๓.๔๐
ดีมาก
มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา
๑๐
๑๐.๐๐
ดีมาก
มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา
๑๐
๘.๓๑
ดี
มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
๑๐
๙.๐๐
ดีมาก
มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม
๑๐
๑๐.๐๐
ดีมาก
รวมคะแนนโดยภาพรวมของสถานศึกษา
๑๐๐
๙๑.๖๑
ดีมาก

หมายเหตุ  ให้สถานศึกษากรอกข้อมูลผลการประเมินสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ครั้งล่าสุด ที่สถานศึกษาได้รับการประเมิน