รายงานการประเมินตนเอง(SAR 2557) บทที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา(2)



๒) ผลการประเมินคุณภาพภายในตามรายมาตรฐาน



มาตรฐาน
น้ำหนัก(คะแนน)
ผลการประเมินตนเอง
ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
คะแนนที่ได้
ระดับคุณภาพ
คะแนนที่ได้
ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ
๓๕
............
ดี
๓๐.๙๐
ดี
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
๒.๘๑
ดีมาก
๒.๗๓
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์

๒.๙๘
ดีมาก
๒.๙๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง


๒.๙๑

ดี

๒.๘๒

ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียน คิดเป็นทำเป็น
๒.๘๕
ดี
๒.๘๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕   ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑๐


๖.๙๐
พอใช้
๖.๙๐
พอใช้
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง


.๐๐

ดีมาก

๕.๐๐

ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๑. ๗  ผู้เรียนมีงานทำหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และ มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต



.๐๐
ดี
๕.๐๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๘ ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย


๒.๗๒

ดีมาก

๒.๗๕

ดี
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ

๒๕

๒๔.๒๐

ดี

๒๓.๔๐

ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพของหลักสูตร
๔.๐๐
ดีมาก
๔.๐๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒   คุณภาพของครู
๓.๒๐
ดี
๓.๒๐
ดี
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓   คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๔.๐๐
ดี
๓.๒๐
ดี
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพผู้สอน/วิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง
๓.๐๐
ดี
๓.๐๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕   คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้รับบริการ
๓.๐๐
ดี
๓.๐๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖  คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย                                         


๔.๐๐

ดีมาก

๔.๐๐

ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗  การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
๓.๐๐
ดี
๓.๐๐
ดีมาก

มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา
๑๐
๑๐.๐๐
ดี
๑๐.๐๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑  คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา
๒.๐๐
ดี
๒.๐๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒  ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ


๒.๐๐

ดี

๒.๐๐

ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓  ผลการบริหารความเสี่ยง
๒.๐๐
ดี
๒.๐๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔  ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา


๒.๐๐

ดี

๒.๐๐

ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕   ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา


๒.๐๐

ดี

๒.๐๐

ดีมาก
มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา
๑๐
๙.๑๗
ดี
๘.๓๑
ดี
ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา


๕.๐๐

ดีมาก

๕.๐๐

ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒ การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด


๔.๑๗

ดี

๓.๓๑

ดี
มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
๑๐
๙.๐๐
ดี
๙.๐๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา




๕.๐๐


ดีมาก


๕.๐๐


ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา


๔.๐๐

ดี

๔.๐๐

ดี
มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม
๑๐
๑๐.๐๐
ดี
๑๐.๐๐
ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายทางศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ








๕.๐๐




ดีมาก




๕.๐๐




ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๒ ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน




๕.๐๐


ดี


๕.๐๐


ดีมาก
รวมคะแนน
๑๐๐
..............
ดี
๙๑.๖๑

ดีมาก
หมายเหตุ  กรณีที่สถานศึกษาใดที่ยังไม่มีผลคะแนนการประเมินสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ที่ตรงกับมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ดังกล่าว ให้เว้นไว้  และใส่เพียงคะแนนผลการประเมินตนเอง
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
จากการประเมินตนเอง
จากการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
. ระบบการติดตามดูแลผู้เรียนยังไม่ชัดเจน
๑.สถานศึกษาควรเน้นการพัฒนาวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาเพิ่มมากขึ้น
.การจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้เรียนในบางพื้นที่
๒.สถานศึกษาควรมีการติดตามผู้เรียนอย่างต่อเนื่องในทุกกิจกรรมเพื่อให้เกิดการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย  และเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้การประเมินผลการจัดกิจกรรมเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
.การจัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานล่าช้าทำให้ การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี และการดำเนินการตามแผนล่าช้าไปด้วย
๓.สถานศึกษาต้องนำผลการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ดีขึ้น
จากการประเมินตนเอง
จากการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
.เครือข่ายบางหน่วยงานยังไม่ทราบถึงบทบาทหน้าที่ในการทำงานของ กศน.
๔.สถานศึกษาควรปรับปรุงเอกลักษณ์ของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจของสถานศึกษาและให้มีลักษณะเป็นรูปธรรมมากขึ้น
๕. บุคลากรขาดทักษะของการประสานงานกับเครือข่ายรวมทั้งไม่ปรับวิธีการทำงานร่วมกับเครือข่าย
๕.สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนให้ครูได้เข้ารับการอบรมสัมมนา ศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาครูให้นำความรู้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๖.สถานศึกษาควรส่งเสริมการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ปลูกฝังให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของความประหยัด ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตอย่างจริงจัง

ผลการประเมินคุณภาพภายนอก
                   £ สถานศึกษายังไม่เคยได้รับการประเมินจากภายนอก
                   R สถานศึกษาได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก ระหว่างวันที่ ๗ – ๙ มกราคม   พ.ศ.  ๒๕๕๗  โดยสถานศึกษาได้คะแนนจากผลการประเมินภายนอก รวม  ๘๗.๖๗  คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ  ดี     ซึ่งสถานศึกษา
                             £ ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา
                             R ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
          สถานศึกษา ควรให้ความรู้และความเข้าใจแก่บุคลากรทุกคนในเรื่องระบบประกันคุณภาพตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓        ทั้ง ๘ ข้อ  การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยกำหนดแผนงาน โครงการที่รองรับผลประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัดเพื่อพัฒนากิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางสะพานให้มีคึณภาพที่ยั่งยืนและผลการประเมินของการจัดทำรายงานการประเมินตนเองได้สูงอย่างต่อเนื่อง

นวัตกรรมหรือการปฏิบัติที่เป็นเลิศของสถานศึกษา
๑. สถานศึกษา นำเทคโนโลยีด้าน ICT ต่างๆ  เช่น การนำเว็บบล็อก (Webblog) มาประยุกต์เป็นนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสถานศึกษา  ทั้งการออกแบบระบบข้อมูลด้านสารสนเทศ (EIS)  งานสารบัญ งานบุคลากร งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน  เพื่อให้สามารถนำข้อมูลมาใช้ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
๒. สถานศึกษามีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจนมีตัวแทนนักศึกษาที่ได้รับรางวัลชนะเลิศและรองชนะเลิศอันดับสองการแข่งขัน Robot Challen กศน.ระดับมัธยมศึกษา ณ อุทยาวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๖ จากกิจกรรมการสร้างนิสัยใฝ่เรียนรู้ของนักศึกษาผ่านโครงการ/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลาย ซึ่งโครงการทั้งหมดมุ่งเน้นผู้เรียนให้เกิดกระบวนการเรียนรู้จริง  มีการบันทึกและนำไปใช้ทำให้เกิดผลดีต่อผู้เรียน

ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต
๑. สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายที่หลากหลายและมีศักยภาพ  ดังนั้นจึงควรให้การส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ให้ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น  และให้ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตลอดชีวิตของประชาชน  นำความรู้ความสามารถของเครือข่ายต่างๆ ที่มีความเข้มแข็งกลับมาถ่ายทอดให้กับผู้เรียนรุ่นต่อๆไป  เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นถึงแบบอย่างที่ดี  และความเป็นไปได้ในการนำความรู้ที่เรียนไปต่อยอดเพื่อสร้างงาน   สร้างอาชีพให้กับตนเอง ครอบครัว  และชุมชน  อันจะเป็นวงจรในการพัฒนาสถานศึกษาที่ยั่งยืน  เน้นการทำให้ กศน.อำเภอบางสะพานเป็นองค์กรแห่งควางสุข   เป็นองค์กรมีชีวิตและเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่สามารถจัดการความรู้ภายใต้ระบบการประกันคุณภาพสถานศึกษาเพื่อนำพาองค์กรไปสู่ความสำเร็จ
๒. สถานศึกษามีบุคลากรที่มีความสามารถด้านเทคโนโลยี  ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์เป็นนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสถานศึกษา ทั้งการออกแบบระบบข้อมูลด้านสารสนเทศ งานสารบัญ เพื่อให้สามารถนำข้อมูลมาใช้ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว