รายงานการประเมินตนเอง(SAR 2557) บทที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา(2)

แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
เป้าประสงค์
กลยุทธ์
โครงการ/กิจกรรม
เป้าหมายปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
เกณฑ์ความสำเร็จ
(ร้อยละ)
๑. ประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ครอบคลุมและเป็นธรรม
๑. บริการเชิงรุกทุกพื้นที่และทุกกลุ่มเป้าหมาย
๑. โครงการประชาสัมพันธ์งาน กศน.
๗ ตำบล
๑ เทศบาล
-จำนวนผู้เรียนที่สนใจสมัครเรียน
-ประชาชนเข้าใจรับรู้ถึงความสำคัญของการเรียนรู้
๕๕๐คน
ร้อยละ ๗๐
เป้าประสงค์
กลยุทธ์
โครงการ/กิจกรรม
เป้าหมายปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
เกณฑ์ความสำเร็จ
(ร้อยละ)
๒. ผู้เรียนและผู้รับบริการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพได้มาตรฐานและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อนำไปสู่ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๒. จัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
๕.สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประชากรวัยแรงงาน
๘๐๐ คน
-ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายการเรียนรู้
-ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
-ร้อยละผู้เรียนที่มีความพึงพอใจในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๕๕๐ คน
ร้อยละ ๗๐
.โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่องอาชีพเพื่อการมีงานทำ
๗ ตำบล
๑ เทศบาล
ประชาชนทั่วไป ๖๓๐ คน
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่ผ่านการอบรม
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่นำความรู้ไปประกอบอาชีพ/หารายได้เสริม
ร้อยละ ๘๐
๓.โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่องเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
๗ ตำบล
๑ เทศบาล
ประชาชนทั่วไป ๓๐๐ คน
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่ผ่านการอบรม
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมการอบรม
ร้อยละ ๘๐


๔. โครงการเทียบระดับการศึกษาในระดับสูงสุดของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๗ ตำบล
๑ เทศบาล
ประชาชนทั่วไป
๑๕๐ คน
-ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินตามหลักสูตร
-ร้อยละของผู้เรียนที่มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม
ร้อยละของผู้ผ่านการประเมินที่นำวุฒิการศึกษาที่ได้รับไปใช้ในการทำงานหรือศึกษาต่อ
ร้อยละ ๘๐


พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้มีชีวิต
ห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี
๑ แห่ง
-จำนวนผู้ใช้บริการห้องสมุด
-ร้อยละของผู้ใช้บริการที่มีความพึงพอใจต่อการบริการและกิจกรรมของของสมุดประชาชน
-ห้องสมุดประชาชนผ่านเกณฑ์การประเมินตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาในระดับดี
ร้อยละ ๘๐
๓. ภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมดำเนินการจัดการศึกษาตลอดชีวิตอย่างกว้างขวาง
๔. ร่วมกับเครือข่ายเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
๑.โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
บุคลากร กศน.อำเภอ ๑๕ คน
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและการทำงานเป็นทีม
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมการอบรม
ร้อยละ ๘๐


๓.โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ๓๐๐ คน
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่ผ่านการอบรม
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมการอบรม
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ การดำรงชีวิต ตระหนักและเห็นคุณค่าการดำรงชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ร้อยละ ๘๐


๔.โครงการพัฒนาบุคลากร กศน.อำเภอบางสะพาน
บุคลากร กศน.อำเภอบางสะพาน ๑๕ คน
-จำนวนครูที่มีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ
-บุคลากรทุกคนมีทักษะในการปฏิบัติงานใน กศน.อำเภอบางสะพาน
-บุคลากร กศน.อำเภอบางสะพานมีการทำงานเป็นทีมดังเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ร้อยละ ๘๐
๔. ชุมชนมีการจัดการความรู้และกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
๓. พัฒนาแหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและภูมิปัญญาให้เป็นฐานความรู้ของชุมชน
๑.โครงการพัฒนา กศน.ตำบลให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน
กศน.ตำบล
๘ แห่ง
-จำนวน กศน.ตำบลที่ได้รับการพัฒนา
-ร้อยละของผู้บริการที่มีความพึงพอใจต่อบริการของ กศน.ตำบล
ร้อยละ ๘๐


๒.โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่องเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ๓๐๐ คน
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่ผ่านการอบรม
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมการอบรม
-ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน
ร้อยละ ๘๐


๓.บ้านหนังสืออัจฉริยะ
บ้านหนังสืออัจฉริยะ ๓๓ แห่ง
-ร้อยละ ๕๐ มี “บ้านหนังสือ”ในทุกหมู่บ้าน/ชุมชน
-ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีนิสัยรักการอ่าน
-ร้อยละ ๘๐ ของเด็กและเยาวชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้จากกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
-หมู่บ้าน/ชุมชน เก็นความสำคัญของการอ่านและมีนิสัยรักการอ่านตลอดจนให้การอ่านนำไปสู่การใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง
-ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและยกระดับความสามารถในการอ่านของหมู่บ้าน/ชุมชนเพิ่มมากขึ้น
๖. สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ สามารถจัดบริการตอบสนองกับสภาพและความต้องการของผู้เรียนและผู้รับบริการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
๔. ร่วมกับเครือข่ายเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
๑.ศูนย์อาเซียนศึกษาอำเภอบางสะพาน
ศูนย์อาซียนศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา
ครู บุคลากรทางการศึกษา นักศึกษาและประชาชน
๑ แห่ง ๒๐๐ คน
-จำนวนผู้ใช้บริการศูนย์อาเซียนศึกษา
-ร้อยละ ๘๐ ของผู้ใช้บริการใความรู้ ความเข้าใรและความตระหนักเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
-กศน.อำเภอมีความพร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
ร้อยละ ๘๐


๒.โครงการโรงเรียนพอเพียงต้นแบบ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.อำเภอบางสะพาน
บุคลากร กศน.๑๒ คน
นักศึกษา ๓๐๐ คน
ภาคีเครือข่าย ๑ แห่ง
ชุมชน ๘ แห่ง
-ร้อยละ ๘๐ ของนักศึกษาได้รับความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
-มีฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบอย่างน้อย ๑ แห่ง
-ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการได้ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างน้อยคนละ ๑ อย่าง
ร้อยละ ๘๐
เป้าหมายความสำเร็จรายมาตรฐาน
มาตรฐาน
คะแนนเต็ม
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ค่าคะแนน
ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑
คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ
๓๕
.................
ดี
มาตรฐานที่ ๒
คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ
๒๕
๒๔.๒๐
ดีมาก
มาตรฐานที่ ๓
การบริหารการศึกษา
๑๐
๑๐.๐๐
ดีมาก
มาตรฐานที่ ๔
การประกันคุณภาพการศึกษา
๑๐
๙.๑๗
ดีมาก
มาตรฐานที่ ๕
อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
๑๐
๙.๐๐
ดีมาก
มาตรฐานที่ ๖
มาตรการส่งเสริม
๑๐
๑๐.๐๐
ดีมาก
รวมคะแนนโดยภาพรวม
๑๐๐
................
ดี

ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา

ผลการดำเนินงานของสถานศึกษาในรอบ ๒  ปีที่ผ่านมาและปีที่ประเมินตนเองดังนี้

โครงการ/กิจกรรม
งบประมาณ
ปี  ๒๕๕๕
งบประมาณ
ปี ๒๕๕๖
งบประมาณ
ปี ๒๕๕๗
เป้าหมาย
ผลผลิต
เป้าหมาย
ผลผลิต
เป้าหมาย
ผลผลิต
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
๘๕๐
๑,๕๔๕
๘๕๐
๑,๔๐๐
๕๐๐
๕๖๗
การศึกษาต่อเนื่อง
๑,๔๗๐
๑,๔๗๐
๑,๐๐๐
๑,๒๒๙
๘๐๐
๑,๐๕๖
การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
๑๒,๐๐๐
๒๓,๕๙๐
๑๒,๐๐๐
๓๔,๔๖๑
๑๒,๐๐๐
๓๒,๗๐๐
รวมทั้งสิ้น
๑๔,๓๒๐
๒๖,๖๐๕
๑๓,๘๕๐
๓๗,๐๙๐
๑๓,๒๐๐
๑๖,๒๒๕
สรุปผลการปรับปรุงและพัฒนาในรอบปีที่ผ่านมา
จาก ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย การประเมินตนเอง การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัดและผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถาน ศึกษา ได้นำข้อเสนอแนะมากำหนดแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึกษา ดังนี้
ข้อเสนอแนะผลการประเมิน
โครงการ/กิจกรรมที่ปรับปรุงและพัฒนา
ผลการดำเนินงาน
ตนเอง
ต้นสังกัด
สมศ.
การประชุม KMประจำสัปดาห์ทุกวันพุธ เวลา
สถานศึกษาควรสร้างระบบการนิเทศ การติดตาม และรูปแบบการรายงานที่ชัดเจน สามารถตอบตัวชี้วัดในแผน ปฏิบัติการได้
- โครงการนิเทศการจัดการศึกษา
- มีการประชุมบุคลากรทุกวันพุธ(เว้นแต่มีภารกิจเร่งด่วน)
- สถานศึกษามีคู่มือการนิเทศและนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัยและรายงานต้นสังกัดทราบ
- บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแก้ปัญหาจากการทำงานร่วมกันในการประชุมประจำสัปดาห์
จัดทำระบบการติดตามช่วยเหลือผู้เรียนทั้งการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาต่อเนื่อง
สถานศึกษาควรมีการติดตามผู้เรียนอย่างต่อเนื่องในทุกกิจกรรมเพื่อให้เกิดการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย  และเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้การประเมินผลการจัดกิจกรรมเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
-  โครงการแนะแนว ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
สถาน ศึกษาได้มอบหมายให้ครูจัดทำศูนย์แนะแนวและติดตามดูแลผู้เรียนด้วยวิธีแตก ต่างกันตามบริบทของพื้นที่ทำให้ทราบข้อมูลเบื้องต้นของนักศึกษา


สถานศึกษาควรพัฒนาการจัดทำรายงานการประเมินตนเองที่มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ จุดเด่น จุดควรพัฒนา โอกาส อุปสรรคเพื่อวางยุทธศาสตร์การบริหารจัดการของสถานศึกษาให้เป็นไปตามวงจร PDCA
โครงการประกันคุณภาพการศึกษา
สถานศึกษาได้จัดทำรายงานการประเมินตนเองที่มีข้อมูลครบตามข้อเสนอแนะที่ได้รับอย่างต่อเนื่อง


สถาน ศึกษาควรวางเป้าหมายแต่ละโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมาตรฐานการ ประเมินและควรสรุปโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ในโครงการต่างๆ อย่างชัดเจน จัดทำแฟ้มสรุปโครงการ
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
สถานศึกษาได้พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและจัดทำสรุปผลการดำเนินงานที่มีข้อมูลครบตามข้อเสนอแนะที่ได้รับอย่างต่อเนื่อง


สถานศึกษาควรมีการประเมินหลักสูตรอย่างต่อเนื่องและวิเคราะห์ผลการประเมินมาพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้กับครู
-สถานศึกษามีการประเมินหลักสูตรโดยผู้มีส่วนร่วมจากผู้เรียน ครู
- ประเมินและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
โครงการพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการประเมินโครงการ/กิจกรรม

-ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมจากหน่วยงานต่างๆ
-บุคลากรมีความรู้เรื่องการสรุปและประเมินโครงการมากขึ้น
วางแผนการจัดการศึกษาต่อเนื่องที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถประกอบอาชีพได้ตามนโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายสำนักงาน กศน. โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
สถานศึกษาควรมีการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ เพื่อวางแผนในการพัฒนาหลักสูตรให้ได้มาตรฐานทั้งหลักสูตรท้องถิ่น หลักสูตรสถานศึกษา  และหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
-โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
-พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ๒๒ หลักสูตร
ข้อเสนอแนะผลการประเมิน
โครงการ/กิจกรรมที่ปรับปรุงและพัฒนา
ผลการดำเนินงาน
ตนเอง
ต้นสังกัด
สมศ.


ส่งเสริมให้ครูมีวุฒิทางการศึกษาเพื่อขอรับใบประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ส่งบุคลากรเข้ารับการศึกษาและสอบเทียบมาตรฐานวิชาชีพครู
-อยู่ระหว่าง
ดำเนินการเข้ารับการศึกษาและสอบเทียบมาตรฐานวิชาชีพครู
ส่งเสริมการแสดงผลงานที่เกิดจากการส่งเสริมอาชีพในชุมชนทุกตำบล
-การแสดงอาชีพในโครงการส่งเสริมความรู้สู่ชุมชนและโครงการส่งเสริมความรู้สู่ชุมชนเพื่อนักศึกษา
ประชาชนและนักศึกษามีโอกาสได้ศึกษาเรียนรู้และรับการถ่ายทอดจากวิทยากรรวมทั้งการจำหน่ายสินค้าต่างๆ